สร้างเป้าหมายชีวิต ด้วย Bucket list
บทความสั้น ๆ ที่ว่าด้วยการสร้างเป้าหมายชีวิตอีกแล้ว ในแง่มุมหนึ่ง แง่คิดหนึ่ง ที่อาจทำให้เราทบทวนอะไรใหม่ ๆ คิดเป้าหมายไห้ชีวิตได้จริงจังก็เป็นไปได้ด้วย Bucket list
บทความสั้น ๆ ที่ว่าด้วยการสร้างเป้าหมายชีวิตอีกแล้ว ในแง่มุมหนึ่ง แง่คิดหนึ่ง ที่อาจทำให้เราทบทวนอะไรใหม่ ๆ คิดเป้าหมายไห้ชีวิตได้จริงจังก็เป็นไปได้ด้วย Bucket list
จากที่มองว่าการทำ IF (Intermittent Fasting) ที่เรียกย่อ ๆ ว่า Fasting เป็นเรื่องไม่ค่อยจำเป็นนัก ทำไมผมเปลี่ยนใจมาลองทำ และลองแล้วมีผลอย่างไร นำมาเล่าสู่กันฟังครับ
เราพูดกันบ่อย ๆ เรื่องเป้าหมายชีวิตหรือเป้าหมายประจำปี ปีที่ผ่านมาคุณมีหรือไม่ ผลลัพธ์เป็นอย่างไรบ้าง ส่วนของผมจะมาเล่าให้ฟัง เผื่อมีประโยชน์ต่อคุณในปีนี้…
บทความพิเศษตอนนี้ ขอนำเสนอ 10 อันดับบทความดี ๆ ที่มีผู้ชมเข้ามาเปิดอ่านมากที่สุดประจำปี 2563 จากข้อมูลสถิติบนเว็บไซต์นี้นี่เอง
เมื่อไหร่จะมีโอกาสเหมือนคนอื่น? ทำไมโอกาสคนเราไม่เท่ากัน? โอกาสสร้างได้จริงไหม? หลากคำถามคาใจเรื่องโอกาสที่ยากจะตอบ แต่อ่านบทความนี้บางทีอาจมีโอกาส…
จากเรื่องราวของคนที่ทำให้ความธรรมดา ไม่ธรรมดา แง่งามตามเรื่องเราของเขา เล่าสู่บนบทความธรรมดานี้ ที่ไม่รู้จะเขียนให้ไม่ธรรมดาได้อย่างไร Fred Rogers (เฟร็ด โรเจอร์ส)
การมีเป้าหมายเป็นสิ่งดี อย่างแรกคือทำให้รู้ว่าจะวัดผล ณ ตรงไหนว่าสิ่งที่ทำอยู่นั้นดีหรือไม่ดี แต่ถ้าเกิดมีอุปสรรค หรือสิ่งที่ควบคุมไม่ได้ระหว่างทางขึ้นมา แล้วเราต้องเลือกว่าทำอย่างไรต่อไป…
ไม่มีใครชอบมีปัญหา แต่เราก็มีปัญหากันบ่อย ๆ ซึ่ง ในเมื่อไม่มีใครหนีปัญหาได้พ้น ดีที่สุดคือการ “ไม่สร้างปัญหา” หรือไม่ทำอะไรให้เกิดปัญหาจะได้ไม่ต้องหนี แต่ว่า มันทำได้จริงหรือ?
“ทำวันนี้ให้ดีที่สุด” ถ้านี่เป็น คำคม คำขวัญ หรือคติประจำใจ ที่คุณเองก็ชื่นชอบและยึดถือ… คำถามคือแล้วผลลัพธ์วันนี้มันดีที่สุดแล้วหรือยัง? ทบทวนกันกับบทความดี ๆ สั้น ๆ เรื่องนี้
ไม่ว่าจะพูดให้ดูดีอย่างไรก็คงไม่มีใคร อยากจะนับ 1 ใหม่ บ่อย ๆ แต่ชีวิตหรือความสัมพันธ์คนเรานั้น มีอะไรที่เราจะมั่นใจว่ามันจะมั่นคง ขนาดไม่พึ่งพาใครธรรมชาติยังเล่นตลกได้เลย…
คุณอาจรู้ว่ารักใครคนหนึ่งเพราะอะไร แต่คุณแน่ใจไหมว่าเขารักคุณนั้นเพราะอะไร บางทีเขาแค่รัก… ที่มีใครมารัก ก็เป็นได้… อีกบทความความรักดี ๆ วันนี้
เรื่องเล่าสบาย ๆ อาจไม่มีแง่คิดอะไรจริงจัง นักศึกษาคนหนึ่ง ที่ทำไม ยังคงต้องเป็นนักศึกษา เชื่อว่ามีหลายคนที่ทุกวันนี้อาจมีชีวิตเหมือนเขา ลองมาเล่าสู่กันฟังครับ
เคยพูดและเขียนไว้อยู่ว่า โลกสังคมออนไลน์ ประกอบกับ Gen (เจนเนอร์เรชั่น) ในปัจจุบันผลักดันให้คนพร้อมจะมีตัวตน ส่งผลไปเรื่องการอวด และการเงินของคนในปัจจุบันได้ไม่ยากเลยทั้งเรื่อง รายรับ และ รายจ่าย
หลายเรื่องในสังคมและชีวิตเราควรมีสิทธิ์ที่จะไม่เห็นด้วยกับเรื่องต่าง ๆ มากมาย แต่พอเราคิดแล้วเราก็เลือก “ไม่พูดดีกว่า” รวมถึงรู้ว่า “มันพูดไม่ได้” ทำไปกันนะจึงเป็นเช่นนี้?
คุณเคยประสบปัญหานี้หรือเปล่า? ใครคนหนึ่ง ที่อยากเอาใจเขา หรือรู้ว่าเขาก็อยากให้เอาใจ แต่ซื้ออะไรให้ ทำอะไรให้ ก็ไม่ค่อยจะถูกใจเขาสักที.. พอเราเฉย ๆ ไม่กล้าเอาใจ ก็กลายเป็นว่า เรานี่ ไม่ใส่ใจ!! พูดง่าย ๆ คือ รู้สึกว่าเขา เอาใจยากจัง.. ผมมีมุมมองหนึ่งมานำเสนอ เผื่อว่าน่าจะเป็นประโยชน์นำไปปรับใช้กับ คุณหญิง หรือ คุณชาย เอาใจยากของคุณ
ผมชอบต้นไม้ ด้วยความชอบก็พยายามหามาปลูก แต่ต้นไม้ก็ไม่ค่อยจะรอด สรุปสาเหตุเอาได้ว่าเป็นที่เราเองไม่ค่อยใส่ใจ วันเวลาผ่านไป ก็ได้พบว่าอาจไม่ใช่แค่ความใส่ใจ..
คงสงสัย และแปลกใจไม่น้อยกับชื่อเรื่องที่บอกว่า “ไม่เจริญ เพราะมีแฟน?” บทความนี้ ไม่ได้พูดถึงคนทั่วไปและเป็นอีกเพียงการตั้งข้อสังเกตหนึ่ง สะท้อนจากแง่มุมหนึ่งของชีวิตคนบางคนเท่านั้น ซึ่งอาจไม่ใช่คุณ แต่เชื่อว่ารอบตัวคุณอาจจะมี..
อาจรับรู้กันไปพอสมควรกับบทเรียนที่ได้จากวิกฤติไวรัสโควิด Covid-19 แต่ส่วนหนึ่งนี่คือ 10 บทเรียนที่ให้แง่คิดหลังจากเกิดวิกฤติมาแล้วราวครึ่งปี ที่น่าจะสอนอะไรเราหลายอย่าง..
“ความผิดหวังเป็นสิ่งที่ต้องเจอ” จะผิดหวังมากหรือน้อยนั้นคงไม่เท่ากันและวัดแทนกันไม่ได้ เพราะความผิดหวังในเรื่องหนึ่งของคนหนึ่งอาจสำคัญมาก แต่อาจเล็กน้อยสำหรับอีกคน ที่สำคัญที่สุดเกี่ยวกับความผิดหวัง คือ เรารับมือมันอย่างไร หรือรับมันได้หรือเปล่า?
หนึ่งวิธีที่จะมีเป้าหมายใช้ชีวิต เพื่อการพัฒนาตนเองกันต่อ ๆ ไป สำหรับคนมีเป้าหมาย หรือมีวิธีค้นหาเป้าหมายแล้ว บทความนี้คงไม่มีประโยชน์ใด แต่ถ้ายังไม่มีเป้าหมายเลย อาจได้อะไรดี ๆ จากเรื่องนี้ก็ได้
เป็นไปได้จากรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย ตกทอดมายังพ่อแม่ สู่ลูก และอาจไปสู่รุ่นหลาน เป็นงูกินหางกันไป แต่จะเป็นเพราะอะไร ลองอ่านแล้วนำไปสะท้อนในสังคมเราดู
ปฏิเสธไม่ได้ที่สังคม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีนำพาเราชอบความง่าย ซึ่งไม่ผิดแปลกอะไรที่เราจะชอบความง่ายใครจะไปชอบอะไร “ยาก” ล่ะ แต่ว่าจริงหรือว่า ยิ่งอะไรง่ายแล้วเราจะได้ประโยชน์?
เมื่ออยู่ในภาวะหนึ่ง การตัดสินใจ หรือการต้องการหาคำตอบ คำอธิบายใด ๆ อาจไม่มีประโยชน์ ถ้าไม่รักษาระยะห่างทางอารมณ์ #บทความดีๆสั้นๆ
เคยรู้สึกไหมอุตส่าหวังดีทำไมผลลัพธ์จึงไม่ดี ก็นั่นเพราะ แค่หวังดีไม่พอหรอก
คุณเป็นคน “ขี้หึง” ไหม? แล้วคุณชอบ “คนขี้หึงไหม?” ความหึงหวงเกิดจากเจตนาใด ดี หรือ ร้าย? หรือว่า ความหึงหวงมีแต่ทำให้ รำคาญ ดูน่างี่เง่า? ถ้าเราไม่ใช่คนที่อยู่ในสถานการณ์บางทีเรื่องพวกนี้ก็นึกไม่ออก บทความความรักวันนี้จะมาชวนคิดเรื่อง ความหึงหวง กับรักที่มักแยกจากกันไม่ได้
เราอาจเคยได้ยินประโยคว่า การเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นเรื่องธรรมดาที่ไม่มีใครหนีพ้น ก็ใช่ แต่ทำไมจึงไม่ควรปล่อยให้เป็นธรรมดา ก็เพราะว่าเมื่อเกิดจริง ๆ มันไม่เคยธรรมดาเลย..
เคยมีคำถามไหมว่า “ความรักดี ๆ อยู่ที่ไหน?” ไปจนถึงว่า รักดี ๆ ควรเป็นอย่างไร ตอบคำถามกันตามสไตล์ กับอีกหนึ่งบทความ ความรัก เรื่องนี้ และหวังว่าคุณจะได้พบรักดี ๆ ในเร็ววัน
ตอนสุดท้ายของบทความการเงิน ชุดนี้ ที่เขียนมาให้ตระหนักอีกมุมบนคำถามที่ว่า “มีเงิน” ของคุณคืออะไร หรือบางทีแบบไหนที่เรียกว่ามีเงิน รวมถึงคำว่า “รายเหลือ” มันคืออะไร?
ธรรมชาติของหลายคน รวมถึงผม เวลาที่เราเห็นอะไรไม่ถูกต้อง ผิดที่ผิดทาง เราย่อมไม่สบายใจ อยากให้ความเห็น บอก สอน แนะนำ แม้จะด้วยเจตนาดีเพียงใด แต่ผลลัพธ์มันมักไม่ตรงเจตนา ทำไมกันนะ..
บทความแง่คิดมุมมองด้านการเงิน ตอนที่ 2 คิดเล่น ๆ เรื่องการเงินกันดู มีมุมไหน ไม่เคยมอง ไม่เคยคิด ไม่เคยรู้จัก อาจได้มุมใหม่ ๆ ให้เลิกคิดเล่น ๆ ก็ได้ครับ